หน้าเว็บ

วันเสาร์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2553

โลกทัศน์วิทยาศาสตร์

ในศตวรรษที่ 13 หรือสมัยกลาง  ทอมัสอไควนัส รวมระบบธรรมชาติของอริสโตเติลเข้ากับหลักเทวะวิทยา และจริยศาสตร์ วิทยาศษสตร์สมัยกลางอยู่บนรากฐานของเหตุและผล และศรัธาไปพร้อมๆ กัน เข้าใจความหมาย สาระสำคัญมากกว่าการควบคุม  และคาดการณ์ ค้นหาเจตนาที่ซ่อนเร้นอยู่เบื้องหลังปรากฏการณ์ธรรม จากสมัยกลางเปลี่ยนไปเป็นทัศนะที่มองโลกเป็นเครืืองจักร มองโลกเป็นเครื่องจักร และยังครอบงำโลกสมัยใหม่ในปัจจุบัน  จากการค้นพบที่สำคัญของโคเปอร์นิคัส กาลิเลโอ และนิวตัน

นำวิธีวิเคราะห์เชิงเหตุผลของเดคาตส์มาใช้ โดยฟรานซิสเบคอน ทำให้แพร่หลายในศตวรรษที่ 16-17 เป็นยุคการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ื บทบาทสำคัญที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง การปฏวัติเริ่มจากโคเปอร์นิคัส ปฏิเสธทัศนะของปโตเลมี และคัมภีร์ไบเบิลที่ว่าโลกเป็นศูนย์กลางของเอกภพ เคปเลอร์ค้นพบความเป็นบรรณสา

วิทยาศาสตร์แบบนิวตัน ธรรมชาติทั้งหลายคิดให้เป็นเครื่องจักรกล ซึ่งจะต้องเอาชนะและนำมาใช้ประโยชน์ให้ได้   ในการกำเนิดโลกทัศน์แบบวิทยาศาสตร์ มองความเป็นจริงเป็นเครื่องจักร แทนที่จะมองเป็นองค์คาพยพที่มีชีวิต อย่างไรก็ตามผู้ที่คุณูประการแก่การวางรากฐานของวิทยาศาสตร์สมัย ได้แก่ ฟรานซิส เบคอน วิลเลี่ยมฮาร์วีย์  เรอเน เดคาตส์  ทอมัส ฮอบส์ และได้แซก นิวตัน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น