หน้าเว็บ

วันเสาร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2554

เมื่อสอนเรื่องการลอยและจม ตอน1.

1ขั้นตอนแรก สำรวจทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ มโนทัศน์ที่มีอยู่ก่อนในเด็กที่จะสอน เกี่ยวกับการลอยการจม และดูคู่มือครูหรือคำแนะนำสำหรับหาไอเดียจัดกิจกรรม

2ขั้นตอนต่อไป ด้วยแนวทางการยกคำถาม ซึ่งยังคงเรียกว่าเป็นการปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนได้ เลือกกิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน จัดลำดับวางระบบเนื้อหา และทรัพยากรการเรียนรู้
    ....โดยวางแผนสิ่งที่จะเข้ามาเกี่ยวข้องภายใต้บริบทที่ว่าจะมีอะไรต่อมา รวมทั้งมโนทัศน์ของเด็กนักเรียนที่มีอยู่ก่อน
3 กิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน  ในนักเรียนทำงานกันเป็นกลุ่มเล็กๆ โดยมีวัตถุชนิดต่างๆ  ให้ทำนายว่า วัตถุแต่ละชิ้นจะลอยหรือจะจม และอภิปรายกับครู แล้วทำการทดสอบ  ครูจะเป็นผู้สะท้อนให้กลุ่มได้เห็นขณะที่กลุ่มทำงาน โดยทำความคิดให้ชัดเจน และหยั่งไปถึงมโนทัศน์ เช่นว่า เมื่อวัตถุหนึ่งๆ กำลังลอย
 ......ให้มีตัววัตถุอื่นเข้ามาแทรก เช่นวัตถุที่เบากว่าแต่จมน้ำ ได้รับเลือกมาทดลอง ทำให้นักเรียนคุ้นเคย แต่จะต้องจัดให้เกิดการเปรียบเทียบกับมโนทัศน์ที่มักมีอยู่ก่อน  ถึงตอนนี้แยกแยะให้เห็นถึงมโนทัศน์ที่มีอยู่ก่อนของผู้เรียน ถึงตอนนี้ครูสามารถที่จะได้มาซึ่งสารสนเทศเกี่ยวกับมโนทัศน์ที่มีติดตัวผู้เรียนมา ขณะที่เด็กๆ ทำงานในกระบวนการ

4การถามคำถาม   ตอนนี้ให้นำวัสถุอุปกรณ์ออกไปก่อน และเด็กๆ รายงานในชั้นเรียน  ให้นักเรียนได้รับเชิญหรือเรียกให้ถามคำถามที่นักเรียนอยากจะตอบ แล้วบันทึกคำถามของนักเรียนไว้
     จัดให้มีไอเดียหรือแนวคิดเชื่อมโยง  คำถามที่นักเรียนถามจะบอกใบ้ถึง มีไอเดียอะไรที่พวกเด็กเชื่อมโยงอยู่
..... ให้หลีกเลี่ยงการปรับรับความรู้ที่ล้มเหลว (avod false accommodation)  ถ้านักเรียนถามคำถามของพวกเขาแทนที่จะเป็นครู  ที่จะตอบคำถามของเขาเอง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น