หน้าเว็บ

วันเสาร์ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

การเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้

การสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวข้องกับกระบวนการคิดเป็นส่วนร่วม อันเป็นรูปแบบการสืบสวนค้นหาทางวิทยาศาสตร์ สิ่งดังกล่าวนั้นรวมถึงการหาเหตุผลเชิงอุปนัย การสร้างสมมุติฐาน และทฤษฏี การหาเหตุผลแบบนิรนัย และทักษะการคิดที่หลากหลายเช่นการเทียบเคียง (analogy) การหาค่าอื่นจากข้อมูลที่มี การสังเคราะห์ และการประเมินค่าโดยสรุป จะเป็นดังนี้


โดเมนของการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Domain of scientific Inquiry)

1. กิจกรรม
การสังเกต
การวัด
การทดลอง
การสื่อสาร
กิจกรรมในกระบวนการคิด
นิรนัย (deduction)
อุปนัย (induction)
ตั้งสมมุติฐาน (form hypothesis)
วิเคราะห์ (analysis)
สังเคราะห์ (synthesis)
วัดค่าประเมิน (Evaluation)
ประมาณการ (estimation)
คาดคะเน พยากรณ์ (speculation)
เทียบเคียง (analogy)
ใช้ความคิดของผู้อื่น (abduction)

2. ความเชื่อ
เกี่ยวกับธรรมชาติ
ในเชิงปัญญา (intelligible)
เหตุและผล หรือเหตุภาพ (causal)
ไม่ได้เป็นไปตามอำเภอใจ (non capricious)
เกี่ยวกับวิธีการ
ภาวะวัตถุวิสัย มีความเป็นจริงเป็นจัง (objectivity)
กังขาคติ อยู่ในความสงสัย (Skepticism)
สามารถจำลองแบบเดิมได้ (replication)
สั้นกระทัดรัด (Parsimony)
เกี่ยวกับความรู้
มีโครงสร้าง (structure)
มีคำอธิบาย (skepticism)
ทำนายได้ (prediction)
เปลี่ยนแปลงได้ (tentative)

3. ลักษณะส่วนบุคคล
สงสัยใคร่รู้ (curiousity)
สร้างสรร (creativity)
มีพันธสัญญา มีข้อผูกมัด (commitment)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น